วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างประเทศ

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ โดยองค์การระหว่างประเทศที่กรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์แลกเปลี่ยนความร่วมมือด้วยได้ อ่านเพิ่มเติม

                                                                                   

การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม

                                                                           

สิทธิมนุษยชนในประเทศ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 26 ถึง 69 ได้บรรยายขอบเขตของสิทธิเฉพาะในบางด้าน เช่น ความยุติธรรมทางอาญา การศึกษา การไม่เลือกปฏิบัติ ศาสนา และเสรีภาพ เพิ่มเติม

                                                                       

สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์" ฉะนั้น จึงเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล เพิ่มเติม

                                                                           

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

ในอดีตอำนาจรัฐที่มีอยู่เหนือประชาชนนั้นมีมากและกว้างขวางอย่างยิ่ง  การใช้อำนาจดังกล่าวทั้งโดยฝ่ายการเมืองหรือฝ่ายประจำ  ซึ่งอาจเป็นที่มาของประโยชน์มิชอบและการใช้อำนาจนั้น  ขาดการตรวจสอบที่ครอบคลุมครบถ้วนทุกมิติของการใช้อำนาจ  การตรวจสอบครอบคลุมที่มีอยู่เดิมก็ขาดประสิทธิภาพที่จะควบคุมการใช้อำนาจทุกด้านอย่างจริงจัง เพิ่มเติม


                                                                             

รัฐ

รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ เพิ่มเติม



                                                                              

คุณลักษณะของพลเมืองดี

  คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า เพิ่มเติม


                                                                          

พลเมืองดี

ความหมายของ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมือง หมายถึง พละกำลังของประเทศ ซ่ึงมีส่วนเป็นเจ้าของประเทศ หมายถึง
ประชาชนที่มีสัญชาติไทย มีสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพภายใต้กฎหมายไทย แตกต่างจาก
ชาวต่างชาติที่เข้าเมืองมาเพื่อประกอบธุรกิจ เพ่ือการท่องเท่ียวหรือหลบหนีเข้าเมือง บุคคล เพิ่มเติม

                                                                  

การเปลี่ยนแปลงและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

 วัฒนธรรม   หมายถึง   สิ่งที่คนไทยกำหนดสร้างขึ้น มีการเรียนรู้สืบต่อกันมามีลักษณะที่แสดงออกถึงความงอกงาม  ความเป็นระเบียบร้อย  ความกลมเกลียว  ตลอดจนการมีศีลธรรมอันดีของสมาชิกไทย  เช่น  การใช้ภาษาไทย  การรู้จักเคารพผู้อาวุโส การไหว้ ศิลปกรรม  แบบไทย  อาหารไทย รวมทั้งการแต่งกายที่สุภาพเรียบร้อย เพิ่มเติม

                                                                           

วัฒนธรรม

วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอด เพิ่มเติม

                                                                         

ปัญหาทางสังคม

ปี พ.ศ. 2544  คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ  ซึ่งในขณะนั้นสังกัดกรมประชาสงเคราะห์   ทำการสำรวจปัญหาสังคมไทย  พ.ศ.2544  เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ  ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2545-2549)  เพิ่มเติม

                                                                            

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปได้อย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยวางแผนให้เป็นไปหรือเป็นไปเอง และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษก็ได้ทั้งสิ้น เพิื่มเติม

                                                                           

การขัดเกลาทางสังคม

การขัดเกลาทางสังคมหมายถึง  กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่าและนำเอากฎเกณฑ์   ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ  การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต  เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ตนเป็นสมาชิดอยู่ได้เป็นอย่างดี เพิ่มเติม


                                                                             

โครงร้างทางสังคม

โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก ๆ สังคม แม้ว่าจะมีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปในแต่ละสังคมก็ตาม เพิ่มเติม